ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลเมืองนะ
ทางทิศเหนือติดกับสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพเมียนม่าร์เดิม ดินแดนที่ตั้งตำบลเมืองนะปัจจุบัน อาจเป็นดินแดนของพวกลัวะหรือละว้ามาก่อน จากหลักฐานการค้นพบ ซากปรักหักพังและสิ่งก่อสร้าง ที่พบในปัจจุบัน ซึ่งเป็นฐานอิฐ ผู้เล่าสันนิษฐานว่า น่าจะเป็นโบสถ์เก่าแก่เพราะยังพบหลุมฝังศพเรียงรายตาม สันเขาจากหมู่บ้านโป่งอางถึงหมู่บ้านแกน้อย อาจเป็นหลุมศพของพวกลัวะก็ได้ สาเหตุที่ได้ชื่อว่าตำบลเมืองนะนั้นจากคำบอกเล่าของคนเก่าแก่ซึ่งเล่าเป็นนิทานปรัมปราว่า เมืองนี้เคยมีพระสมณโคดมเสด็จมาโปรดมนุษย์สัตว์เดรัจฉานทั้งหลาย เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมายังเทือกเขาแห่งหนึ่ง ภูเขาแห่งนี้เป็นที่รวมของแม่น้ำหลายสาย ซึ่งปัจจุบันนี้เรียกว่าสันดอยถ้วย อันเป็นที่รวมของแม่น้ำสำคัญของไทยคือ แม่น้ำปิง ณ ริมธารแห่งหนึ่งใต้ร่มไม้ใหญ่ใบหนารื่น พระพุทธองค์ทรงประทับใต้ต้นไม้นั้น เมื่อประชาชนในละแวกนี้ทราบว่ามีพระสมณโดคมเสด็จโปรดสัตว์เดรัจฉานโลกก็พากันขึ้นไปสักการะบูชา ไม่เพียงแต่มวลมนุษย์เท่านั้น แม้แต่สัตว์เดรัจฉานก็ไปร่วมสักการะบูชาด้วยมากมาย ในบรรดาสัตว์เหล่านี้ยังมีพญาช้างเผือกเชือกหนึ่งเกิดความศรัทธาก็เก็บเอา ผลไม้มาถวายพระพุทธเจ้า ผลไม้นั้นเป็นผลนะ(ลูกสมอ) พอพระพุทธเจ้ารับผลไม้นั้น ด้วยแรงศรัทธาเป็นล้นพ้น ผลนะนี้ก็กลายเป็นผลไม้ทองคำทันที ประชากรตำบลเมืองนะ ประกอบไปด้วยชนหลายเผ่า เช่น ไทยใหญ่(เงี้ยว) เป็นส่วนมาก รองลงมาก็เป็นชาวเขาเผ่าต่าง ๆ อีก้อ ลีซอ มูเซอ คะฉิ่น ละว้า และกระเหรี่ยง เป็นต้น และมาจากหลายแห่ง ทั้งนี้เพราะพื้นที่ตำบลเมืองนะ มีเขตติดต่อกับพม่าทั้งสองด้าน ดังนั้นจึงเป็นการง่ายที่จะทำให้ชนต่างชาติเผ่าต่างๆ อพยพเข้ามาอาศัยอยู่
จัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2539
ได้รับการยกฐานะเป็น เทศบาลตำบล เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2551
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ที่ตั้งของตำบลเมืองนะ เลขที่ 80 หมู่ 7 ถนนแม่ข้อน - นาหวาย ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอเชียงดาว ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 29 กิโลเมตรโดยทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 107 แยกเข้าทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 117
ทิศเหนือ ติดกับ สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพเมียนม่าร์
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลทุ่งข้าวพวง
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลศรีดงเย็น อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลเปียงหลวง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่
เนื้อที่ 486 ตารางกิโลเมตร หรือ 303,800 ไร่
ค่าพิกัด MB 0496324 E 98578 N 19355 UTM 2166156
2. ด้านการเมืองการปกครอง
เทศบาลตำบลเมืองนะ แบ่งเป็นหมู่บ้านตามลักษณะการปกครองท้องที่ จำนวน 14 หมู่บ้าน ประกอบด้วย
หมู่ที่ 1 บ้านเมืองนะ ผู้ใหญ่บ้าน นายอมรเทพ ปุกคำ
หมู่ที่ 2 บ้านแกน้อย ผู้ใหญ่บ้าน นายปะติ จะต๋อ
หมู่ที่ 3 บ้านนาหวาย ผู้ใหญ่บ้าน นายอะบี ดิ
หมู่ที่ 4 บ้านโล๊ะป่าหาญ ผู้ใหญ่บ้าน นายโสภณ เตโชแจ่ม
หมู่ที่ 5 บ้านโป่งอาง ผ้ใหญ่บ้าน นายเจริญ จองจาย
หมู่ที่ 6 บ้านน้ำรู ผู้ใหญ่บ้าน นายบุญธรรม แปนสวย
หมู่ที่ 7 บ้านห้วยไส้ ผู้ใหญ่บ้าน นายสมจิตร จันตา
หมู่ที่ 8 บ้านจองคำ ผู้ใหญ่บ้าน นางนิศาชล อภัยวงศ์
หมู่ที่ 9 บ้านไชยา ผู้ใหญ่บ้าน นายกวงหัว แซ่หลี่
หมู่ที่ 10 บ้านอรุโณทัย ผู้ใหญ่บ้าน นายวุฒิไกร ทวีอภิรดีภูมิ
หมู่ที่ 11 บ้านหนองแขม กำนันตำบลเมืองนะ นายอาเบ แซ่ลี้
หมู่ที่ 12 บ้านหนองเขียว ผู้ใหญ่บ้าน นายเดวิ วิมลศรีเพชร
หมู่ที่ 13 บ้านเจียจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน นายปะกู แก่แล
หมู่ที่ 14 บ้านใหม่สามัคคี ผู้ใหญ่บ้าน นายสมบูรณ์ สารรังษี
3. ประชากร
จำนวนประชากร พ.ศ.2564 |
||||
หมู่ที่ |
ครัวเรือน |
ชาย (คน) |
หญิง (คน) |
รวม (คน) |
0 |
2 |
662 |
791 |
1,453 |
1 |
745 | 1,299 | 1,376 | 2,675 |
2 |
919 | 1,656 | 1,708 | 3,364 |
3 |
1,253 | 2,157 | 2,261 | 4,418 |
4 |
419 | 432 | 420 | 852 |
5 |
217 | 299 | 252 | 551 |
6 |
570 | 741 | 744 | 1,485 |
7 |
485 | 704 | 738 | 1,442 |
8 |
119 | 263 | 344 | 607 |
9 |
609 | 1,356 | 1,363 | 2,719 |
10 |
2,014 | 4,967 | 5,253 | 10,220 |
11 |
422 | 740 | 779 | 1,519 |
12 |
999 | 1,923 | 1,927 | 3,850 |
13 |
361 | 781 | 789 | 1,570 |
14 |
263 | 631 | 676 | 1,307 |
รวม |
9,397 | 18,611 | 19,421 | 38,032 |
ที่มา : ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน อำเภอเชียงดาว กรมการปกครอง ณ เดือน กรกฎาคม 2564
4. สภาพทางสังคม
4.1 การศึกษา
- โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 10 แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 3 แห่ง
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 14 แห่ง
- หอกระจายข่าว / เสียงตามสาย จำนวน 14 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 16 แห่ง
- โรงเรียนอนุบาล จำนวน 1 แห่ง
4.2 สาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล จำนวน 3 แห่ง
- อัตราการมี และใช้ส้วมซึม คิดเป็นร้อยละ 95
4.3 ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
- สถานีตำรวจภูธร จำนวน 1 แห่ง
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคม
- มีถนนคอนกรีต หรือลาดยาง ระยะทาง 80,500 กิโลเมตร
- มีถนนดินลูกรัง ระยะทาง 50 กิโลเมตร
5.2 การไฟฟ้า
- มีไฟฟ้าใช้ จำนวน 14 หมู่บ้าน
- ไม่มีไฟฟ้า จำนวน 1 หย่อมหมู่บ้าน
5.3 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์ จำนวน 2 แห่ง
- สถานีโทรคมนาคม (โทรศัพท์สาธารณะ) จำนวน - แห่ง
5.4 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์ - มีไปรษณีย์ จำนวน 2 แห่ง
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 อาชีพ
- อาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 3 ของจำนวนประชากร
- อาชีพการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 95 ของจำนวนประชากร
- อาชีพค้าขาย และรับราชการ คิดเป็นร้อยละ 2 ของจำนวนประชากร 6.2 หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาล
- ปั๊มน้ำมัน และก๊าซ จำนวน 42 แห่ง
- โรงงานอุตสาหกรรม ขนาดเล็ก จำนวน 3 แห่ง
- โรงสี จำนวน 6 แห่ง
6.3 สถานที่ท่องเที่ยว
- น้ำตกศรีสังวาล บ้านนาหวาย หมู่ที่ 3 ตำบลเมืองนะ
- บ่อน้ำร้อน บ้านโป่งอาง หมู่ที่ 5 ตำบลเมืองนะ
- ขุนน้ำรู บ้านน้ำรู หมู่ที่ 6 ตำบลเมืองนะ
- วัดถ้ำเมืองนะ บ้านเมืองนะ หมู่ที่ 1 ตำบลเมืองนะ
- อุทยานแห่งชาติผาแดง บ้านนาหวาย หมู่ที่ 3 ตำบลเมืองนะ
- วัดถ้ำวัว บ้านเจียจันทร์ หมู่ที่ 13 ตำบลเมืองนะ
7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
ข้อมูลทางด้านการเกษตร (ทำนา)
ในเขตชลประทาน |
นอกเขตชลประทาน |
|||||
หมู่บ้าน/ชุมชน |
จำนวนครัวเรือน |
ต้นทุนเฉลี่ย |
ราคาขายเฉลี่ย |
จำนวนครัวเรือน |
ต้นทุนเฉลี่ย |
ราคาขายเฉลี่ย |
บ้านเมืองนะ |
0 |
0 |
0 |
550 |
3,200 |
7,936 |
บ้านแกน้อย |
0 |
0 |
0 |
638 |
3,200 |
8,928 |
บ้านนาหวาย |
0 |
0 |
0 |
353 |
3,200 |
8,928 |
บ้านโละป่าหาญ |
0 |
0 |
0 |
200 |
3,200 |
8,928 |
บ้านโป่งอาง |
0 |
0 |
0 |
333 |
3,200 |
8,928 |
บ้านน้ำรู |
0 |
0 |
0 |
260 |
3,200 |
8,928 |
บ้านห้วยไส้ |
0 |
0 |
0 |
220 |
3,200 |
8,928 |
บ้านจองคำ |
0 |
0 |
0 |
18 |
3,200 |
8,928 |
บ้านไชยา |
0 |
0 |
0 |
180 |
3,200 |
8,928 |
บ้านอรุโณทัย |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
บ้านหนองแขม |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
บ้านหนองเขียว |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
บ้านเจียจันทร์ |
0 |
0 |
0 |
0 |
3,200 |
8,928 |
บ้านใหม่สามัคคี |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
ข้อมูลทางด้านการเกษตร (ทำสวน)
หมู่บ้าน/ชุมชน |
กระเทียม |
ลำไย |
||||
จำนวนครัวเรือน |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย |
ราคาขายโดยเฉลี่ย |
จำนวนครัวเรือน |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย |
ราคาขายโดยเฉลี่ย |
|
บ้านเมืองนะ |
86 |
7,600 |
42,000 |
|||
บ้านแกน้อย |
89 |
7,600 |
42,000 |
|||
บ้านนาหวาย |
98 |
7,600 |
42,000 |
|||
บ้านโละป่าหาญ |
61 |
7,600 |
42,000 |
262 |
8,000 |
64,320 |
บ้านโป่งอาง |
22 |
7,600 |
42,000 |
58 |
8,000 |
64,320 |
บ้านน้ำรู |
220 |
7,600 |
4,200 |
83 |
8,000 |
64,320 |
บ้านห้วยไส้ |
124 |
7,600 |
42,000 |
208 |
8,000 |
64,320 |
บ้านจองคำ |
24 |
7,600 |
42,000 |
|||
บ้านไชยา |
130 |
7,600 |
42,000 |
|||
บ้านหนองแขม |
40 |
8,000 |
64,320 |
|||
บ้านหนองเขียว |
80 |
8,000 |
64,320 |
|||
บ้านใหม่สามัคคี |
112 |
8,000 |
64,320 |
ข้อมูลด้านการเกษตร (ทำไร่)
หมู่บ้าน/ชุมชน |
ข้าวโพด |
||
จำนวนครัวเรือน |
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย |
ราคาขายโดยเฉลี่ย |
|
บ้านแกน้อย |
700 |
3,968 |
8,400 |
บ้านจองคำ |
40 |
3,968 |
8,400 |
บ้านเจียจันทร์ |
264 |
3,968 |
8,400 |
บ้านไชยา |
340 |
3,968 |
8,400 |
บ้านนาหวาย |
770 |
3,968 |
8,400 |
บ้านน้ำรู |
94 |
3,968 |
8,400 |
บ้านโป่งอาง |
60 |
3,968 |
8,400 |
บ้านเมืองนะ |
60 |
3,960 |
8,400 |
บ้านโละป่าหาญ |
64 |
3,968 |
8,400 |
บ้านหนองเขียว |
840 |
3,968 |
8,400 |
บ้านหนองแขม |
348 |
3,968 |
8,400 |
บ้านห้วยไส้ |
56 |
3,968 |
8,400 |
บ้านใหม่สามัคคี |
72 |
3,968 |
8,400 |
บ้านอรุโณทัย |
398 |
3,968 |
8,400 |
แหล่งน้ำทางการเกษตร (ธรรมชาติ)
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
แม่น้ำ |
1 |
1 |
1 |
1 |
ห้วย/ลำธาร |
0 |
8 |
0 |
8 |
คลอง |
0 |
0 |
0 |
0 |
หนองน้ำ/บึง |
1 |
2 |
0 |
3 |
น้ำตก |
1 |
0 |
0 |
1 |
แหล่งน้ำทางการเกษตร (ที่มนุษย์สร้าง)
แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้าง |
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
แก้มลิง |
0 |
0 |
0 |
0 |
อ่างเก็บน้ำ |
1 |
6 |
1 |
6 |
ฝาย |
0 |
3 |
0 |
3 |
สระ |
0 |
3 |
0 |
3 |
คลองชลประทาน |
0 |
0 |
0 |
0 |
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
แหล่งน้ำกิน |
ไม่มี |
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
บ่อน้ำตื้นสาธารณะ |
0 |
1 |
2 |
1 |
2 |
ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) |
0 |
0 |
13 |
1 |
12 |
ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค) |
0 |
0 |
1 |
0 |
1 |
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
0 |
2 |
4 |
1 |
5 |
8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
8.1 การนับถือศาสนา - ศาสนาพุทธ วัด/สำนักสงฆ์ จำนวน 16 แห่ง - ศาสนาคริสต์ โบสถ์ จำนวน 27 แห่ง - อื่นๆ ศาลเจ้า จำนวน 3 แห่ง
8.2 ประเพณีและงานประจำปี
- ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม
- ประเพณีสืบชะตาขุนน้ำรู ประมาณเดือน กุมภาพันธ์
- ประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ประมาณเดือน กุมภาพันธ์
- ประเพณีตรุษจีน ประมาณเดือน กุมภาพันธ์
- ประเพณีบรรพชาสามเณร (ปอยส่าลอง) ประมาณเดือน มีนาคม เมษายน
- ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน
- ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม
- ประเพณีกินข้าวใหม่ ประมาณเดือน ตุลาคม ถึง ธันวาคม
- ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน
- ประเพณีปอยแคร่ ประมาณเดือน ธันวาคม
9. ทรัพยากรธรรมชาติ
9.1 น้ำ
1. แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ , ห้วย จำนวน 3 สาย
- บึง , หนอง และอื่น จำนวน 2 แห่ง
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย จำนวน 15 แห่ง
- บ่อน้ำตื้น จำนวน 25 แห่ง
- บ่อโยก จำนวน 6 แห่ง
- อื่น (อ่างเก็บน้ำ) จำนวน 4 แห่ง
9.2 ป่าไม้
ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้เบญจพรรณ
10. ข้อมูลอื่นๆ
• มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน มี 4 รุ่น จำนวน 650 คน
- ไทยอาสาป้องกันชาติ มี 2 รุ่น จำนวน 280 คน
- กองหนุนเพื่อความมั่นคงของชาติ มี 1 รุ่น จำนวน 100 คน
- อ.ส.ป. มี 1 กลุ่ม จำนวน 200 คน
- อสม. มี 14 กลุ่ม จำนวน 402 คน
- กลุ่มพัฒนาสตรีระดับตำบล มี 14 กลุ่ม จำนวน 150 คน
- อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน มี 4 รุ่น จำนวน 180 คน